บการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทประจำปี 2542
17 February 2000
จำนวนหุ้น หุ้นสามัญ ส่วนเกิน รวม
มูลค่าหุ้น
บาท บาท บาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2540 240,000,000 2,400,000,000 3,290,152,068 5,690,152,068
การออกหุ้น - - - -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 240,000,000 2,400,000,000 3,290,152,068 5,690,152,068
การออกหุ้น - - - -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 240,000,000 2,400,000,000 3,290,152,068 5,690,152,068
ทุนเรือนหุ้นเป็นหุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมด ซึ่งมีราคาตราไว้มูลค่าหุ้นละ 10
บาท (พ.ศ. 2541 : 10 บาท) หุ้นทั้งหมดได้ออกและชำระเต็มมูลค่าหุ้นแล้ว
10 สำรองตามกฎหมาย
งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
บาท บาท บาท บาท
ยอดยกมาต้นปี 163,947,221 138,909,918 163,947,221 138,909,918
จัดสรรระหว่างปี 28,553,144 25,037,303 28,553,144 25,037,303
ยอดคงเหลือ
ปลายปี 192,500,365 163,947,221 192,500,365 163,947,221
ตามข้อกำหนดของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน บริษัทต้องจัดสรรกำไรเป็น
จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิหลังจากหักขาดทุนสะสม (ถ้ามี) ไว้
เป็นทุนสำรองตามกฎหมาย จนกว่าสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ
ทุนจดทะเบียน สำรองนี้ห้ามนำไปจ่ายเงินปันผล
11 กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้นคำนวณโดยใช้จำนวนหุ้นถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามระยะเวลาที่ออกอยู่
ในระหว่างปี การคำนวณกำไรต่อหุ้นภายหลังขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์
แสดงได้ดังต่อไปนี้ :-
งบการเงินรวมและ
งบการเงินของบริษัท
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
บาท บาท
กำไรสุทธิก่อนขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 735,971,747 546,995,133
หัก : ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ (164,908,861) -
กำไรสุทธิหลังขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 571,062,886 546,995,133
จำนวนหุ้นถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 240,000,000 240,000,000
งบการเงินรวมและ
งบการเงินของบริษัท
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
บาท บาท
กำไรต่อหุ้นก่อนขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 3.07 2.28
หัก : ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 0.69 -
กำไรต่อหุ้นหลังขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 2.38 2.28
12 เงินปันผลต่อหุ้น
เงินปันผลจ่ายจะไม่รับรู้จนกว่าจะมีการให้สัตยาบันในการประชุมสามัญประจำปี
ตามมติที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 ได้มีมติ
ประกาศจ่ายเงินปันผลจากผลการดำเนินงานสำหรับปี พ.ศ. 2541 ในอัตรา 0.85
บาท ต่อหุ้น รวมเป็นเงินปันผลทั้งสิ้น 204 ล้านบาท ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะ
กรรมการและได้จ่ายไปทั้งหมดแล้วในไตรมาสที่ 2 ของปี 2542
13 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและภาระผูกพัน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 กลุ่มบริษัทมีภาระเกี่ยวกับการค้ำ
ประกันกับธนาคาร การค้ำประกันอื่น และเรื่องอื่น ที่เป็นปกติในการดำเนินธุรกิจ
ซึ่งคาดว่าจะไม่ทำให้มีหนี้สินที่มีสาระสำคัญเกิดขึ้น ในการดำเนินธุรกิจตามปกติ
กลุ่มบริษัทและบริษัทได้ให้การค้ำประกันแก่บุคคลภายนอกดังต่อไปนี้
หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 ธนาคารได้ออกหนังสือค้ำประกัน
ให้แก่บริษัทฯและบริษัทย่อยดังนี้
งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
บาท บาท บาท บาท
การใช้ไฟฟ้า 39,334,700 37,521,000 37,321,700 35,932,500
การจำหน่ายสุรา บุหรี่ 2,132,000 2,131,000 2,097,000 2,101,000
อื่น ๆ 950,000 2,180,000 450,000 480,000
42,416,700 41,832,000 39,868,700 38,513,500
Letter of awareness
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 บริษัทได้ออก Letter of awareness
ให้แก่ธนาคารสำหรับวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารของบริษัทย่อย จำนวน 70 ล้านบาท
(พ.ศ. 2541 : 70 ล้านบาท)
สัญญาเช่าและบริการ
จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดำเนินงานมีดังนี้
งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
บาท บาท บาท บาท
ภายใน 1 ปี 82,616,500 50,366,870 299,047,366 298,784,990
เกินกว่า 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี 291,990,339 172,930,442 486,659,510 295,323,075
เกินกว่า 5 ปี 867,094,950 632,959,379 692,627,701 506,606,833
1,241,701,789 856,256,691 1,478,334,577 1,100,714,898
ภาระผูกพันค่าก่อสร้าง
รายจ่ายฝ่ายทุนที่ถือเป็นภาระผูกพัน ณ วันที่ในงบดุลแต่ไม่ได้รับรู้ในงบการเงิน มีดังต่อไปนี้
งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
บาท บาท บาท บาท
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 388,268,120 239,528,500 370,024,436 238,020,562
14 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัท มีรายการส่วนหนึ่งกับบริษัทย่อย และบริษัทในเครือ ซึ่งสรุปรายการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้ :
งบการเงินรวม
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
ล้านบาท ล้านบาท
รายการระหว่างปีกับบริษัทในเครือ
ค่าสิทธิ 123.9 118.7
งบการเงินของบริษัท
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
ล้านบาท ล้านบาท
รายการระหว่างปีกับบริษัทย่อย
รายได้ : - ขายสินค้า 1.9 0.5
- ขายสินทรัพย์ถาวร - 1.0
- ดอกเบี้ยรับ 75.3 100.4
- ค่าเช่า 63.3 74.6
- ค่าบริการการจัดการ 1.8 1.8
- ค่าเช่ารถ 0.2 -
ค่าใช้จ่าย : - ค่าเช่าที่ดิน 261.6 261.6
- ค่าสิทธิและบริการ 14.0 13.4
- ซื้อวัสดุสำนักงาน 0.5 0.7
- ซื้อสินทรัพย์ถาวร - 0.2
- ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับยานพาหนะ 1.9 1.5
รายการระหว่างปีกับบริษัทในเครือ
ค่าสิทธิ 114.9 110.9
การซื้อและขายสินค้าที่บริษัทมีกับบริษัทย่อยแสดงไว้ตามราคาตลาด
รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่อาคารที่ได้รับจากบริษัทย่อย รวมทั้งค่าเช่าที่ดินที่จ่าย
ให้แก่บริษัทย่อยเป็นไปตามที่ระบุในสัญญาที่ทำร่วมกัน โดยคิดตามราคาทุนของ
สินทรัพย์ที่ได้มารวมกับค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
บริษัทได้ทำสัญญาให้ความช่วยเหลือด้านการจัดการกับบริษัทย่อยและได้รับค่า
ธรรมเนียมสำหรับบริการดังกล่าวในอัตราคงที่เป็นรายปี โดยคิดตามราคาทุนของ
ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บริษัทและบริษัทย่อยได้ทำสัญญาในการใช้สิทธิในเครื่องหมายการค้ากับบริษัท
ย่อยและบริษัทในเครือซึ่งอยู่ในต่างประเทศ โดยจ่ายค่าธรรมเนียมคิดตามอัตรา
ร้อยละของยอดขายสุทธิของบริษัท และบริษัทย่อย
งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท
หมายเหตุ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2542 และ 2541
ลูกหนี้บริษัทย่อย - - 161.2 166.4
ลูกหนี้บริษัทในเครือ 0.1 0.8 - 0.7
0.1 0.8 161.2 167.1
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย 14.1
(อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.5 ต่อปี)
บริษัท แม็คโคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด - - - 90.8
บริษัท แม็คโคร ออโตแคร์ จำกัด - - 86.2 72.3
- - 86.2 163.1
เจ้าหนี้บริษัทย่อย - - 0.5 -
เจ้าหนี้บริษัทในเครือ 77.9 59.8 72.4 55.9
77.9 59.8 72.9 55.9
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย
(อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี) 14.2 - - 1,126.4 1,178.4
เงินมัดจำเกี่ยวกับการเช่าที่ดินที่ชำระ
แก่บริษัทย่อย - - 261.6 261.6
14.1 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อยเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน ซึ่งมีกำหนดชำระคืนเมื่อทวงถาม
14.2 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อยมีกำหนดชำระคืนดังนี้
วันที่กู้ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 วันที่ครบกำหนด
ล้านบาท ล้านบาท
1 มกราคม พ.ศ. 2536 - 40.5 31 ธันวาคม พ.ศ. 2545
1 มีนาคม พ.ศ. 2536 125.5 137.0 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546
1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 720.9 720.9 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548
23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 280.0 280.0 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548
1,126.4 1,178.4
15 ข้อมูลจำแนกตามส่วนงาน
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542
ธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจ ธุรกิจการให้ รายการ
และค้าปลีก บริการ เช่าที่ดิน ตัดบัญชี รวม
ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท
ขายและรายได้ค่าบริการ
- ลูกค้าทั่วไป 33,438 1,055 - - 34,493
- บริษัทในเครือ 4 1 262 (267) -
33,442 1,056 262 (267) 34,493
กำไรจากการดำเนินงาน 2,672 242 - - 2,914
รายได้อื่น 874
ค่าใช้จ่ายในการขายและ
บริหาร (2,720)
ขาดทุนจากการด้อยค่า
ของทรัพย์สิน (165)
ดอกเบี้ยจ่าย (5)
ค่าตอบแทนกรรมการ (1)
ภาษีเงินได้ (326)
กำไรสุทธิ 571
ที่ดิน อาคารและ
อุปกรณ์ สุทธิ ณ วันที่ 31
ธันวาคม พ.ศ. 2542 5,914 440 2, 625 - 8,979
สินทรัพย์อื่น 7,022
สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31
ธันวาคม พ.ศ. 2542 16,001
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541
ธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจ ธุรกิจการให้ รายการ
และค้าปลีก บริการ เช่าที่ดิน ตัดบัญชี รวม
(ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
ขายและรายได้ค่าบริการ
- ลูกค้าทั่วไป 29,964 812 - - 30,776
- บริษัทในเครือ 2 1 262 (265) -
29,966 813 262 (265) 30,776
กำไรจากการดำเนินงาน 2,463 150 - - 2,613
รายได้อื่น 796
ค่าใช้จ่ายในการขาย
และบริหาร (2,562)
ขาดทุนจากการด้อยค่า
ของทรัพย์สิน -
ดอกเบี้ยจ่าย (38)
ค่าตอบแทนกรรมการ (1)
ภาษีเงินได้ (261)
กำไรสุทธิ 547
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2541 5,685 387 2,790 - 8,862
สินทรัพย์อื่น 6,114
สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31
ธันวาคม พ.ศ. 2541 14,976
บริษัทและบริษัทย่อยประกอบธุรกิจ 3 ประเภทหลัก ได้แก่ :
- กิจการค้าส่งสินค้าสำเร็จรูป และค้าปลีกเครื่องใช้สำนักงาน
- ศูนย์บริการเปลี่ยนอุปกรณ์รถยนต์ ล้างรถยนต์อัตโนมัติและสถานีบริการน้ำมัน
- กิจการลงทุนในที่ดินและให้เช่าที่ดิน
รายได้จากการขายให้ลูกค้าทั่วไปรวมบริษัทย่อยและบริษัทในเครือแสดงไว้ตามราคาตลาด
สินทรัพย์ถาวรของแต่ละส่วนงานเป็นสินทรัพย์ที่ใช้ในการดำเนินงาน ของส่วนงานนั้น ๆ
สินทรัพย์อื่นส่วนใหญ่ ประกอบด้วยเงินสดและเงินฝากธนาคาร สินค้าคงเหลือ
เงินให้กู้ยืมและยอดคงเหลือระหว่างบริษัทในเครือ
16 วงเงินสินเชื่อจากธนาคาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 บริษัท และบริษัทย่อยมีวงเงินสิน
เชื่อที่ได้รับจากธนาคารทั้งในประเทศและต่างประเทศซึ่งยังไม่ได้ใช้ ดังนี้:
งบการเงินรวม
สกุลเงิน พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
(หน่วย : ล้าน) (หน่วย : ล้าน)
ธนาคารในประเทศ
-วงเงินเบิกเกินบัญชี บาท 110 135
-วงเงินกู้ยืม บาท 185 150
-วงเงิน Letter of credit บาท 298 230
-วงเงินค้ำประกันจากธนาคาร บาท 43 15
ธนาคารต่างประเทศ
-Loans facilities USD 35 35
งบการเงินของบริษัท
สกุลเงิน พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541
(หน่วย : ล้าน) (หน่วย : ล้าน)
ธนาคารในประเทศ
-วงเงินเบิกเกินบัญชี บาท 70 95
-วงเงินกู้ยืม บาท 175 150
-วงเงิน Letter of credit บาท 263 195
-วงเงินค้ำประกันจากธนาคาร บาท 30 13
ธนาคารต่างประเทศ
-Loans facilities USD 35 35
วงเงินกู้ยืมจากธนาคารต่างประเทศที่ยังไม่ได้ใช้ สามารถใช้ได้จนถึงวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2544
17 เครื่องมือทางการเงิน
บริษัทมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงสำหรับหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
โดยการใช้เครื่องมือทางการเงินที่มีเสนออยู่ในตลาดการเงิน ทั้งนี้ บริษัทได้ตกลง
ทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าสำหรับเงินกู้ยืมและหนี้สินจากการซื้อสินค้า
ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยง
18 ปัญหาคอมพิวเตอร์ปี ค.ศ. 2000 (ไม่ได้ผ่านการตรวจสอบ)
บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้เริ่มแผนงานการปรับปรุง
เปลี่ยนแทนและยกระดับระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2540
เป็นต้นมา วัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความสามารถอย่างเป็น
สาระสำคัญในการรองรับและส่งเสริมการดำเนินธุรกิจ ทั้งนี้คาดว่าการปรับปรุง
ระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าว จะสามารถลดความเสี่ยงและรองรับปัญหาปี ค.ศ.
2000 ได้ เนื่องจากอุปกรณ์และระบบใหม่ดังกล่าว ได้มีการเตรียมการแก้ไข
ปัญหาปี ค.ศ. 2000 ไว้แล้ว ตามที่บริษัทฯ ผู้จำหน่ายอุปกรณ์หรือระบบดังกล่าวได้
ให้การรับรองว่าสามารถรองรับปัญหาปี ค.ศ. 2000 ได้ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) และบริษัท
ย่อย ได้ดำเนินการปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าว และทดสอบปัญหาปี ค.ศ.
2000 เสร็จสิ้นแล้ว
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบริษัทอื่นที่บริษัทและบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจด้วย บริษัท
และบริษัทย่อย ได้ดำเนินการตรวจสอบความพร้อม และประเมินผลกระทบจาก
การแก้ไขปัญหาปี ค.ศ. 2000 นอกจากนี้ ยังได้จัดทำแผนสำรองฉุกเฉิน
(Contingency Plan) เพื่อป้องกันและรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นไว้เรียบร้อยแล้ว
บริษัทและบริษัทย่อย ได้ผ่านพ้นช่วงเวลาเปลี่ยนแปลง จากปี ค.ศ. 1999 สู่ปี ค.ศ.
2000 โดยไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาคอมพิวเตอร์ปี ค.ศ. 2000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายจ่ายสำหรับการแก้ไข
ปัญหาปี ค.ศ. 2000 ซึ่งได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้วทั้งสิ้นจำนวน 10 ล้านบาท
อนึ่ง เนื่องจากปัญหาปี ค.ศ. 2000 เป็นวิกฤติการณ์ที่บริษัทและบริษัทย่อย ให้ความ
สำคัญเป็นอย่างยิ่ง และได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ที่จะเตรียมพร้อมเพื่อป้องกัน
และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทและบริษัทย่อยมิได้รับรอง
หรือมิได้รับประกันว่า จะไม่เผชิญกับปัญหาหรือข้อผิดพลาดอื่นใดทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมอันเป็นผลกระทบเนื่องจากปัญหาปี ค.ศ. 2000