บการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทประจำปี 2542

17 กุมภาพันธ์ 2543
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (977,972,030) (874,143,721) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน : จ่ายคืนเงินกู้ระยะสั้น - (506,700,000) เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น (204,000,000) (204,000,000) เจ้าหนี้สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (72,978,000) 72,978,000 เงินสดรับ (จ่ายคืน) เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร (553,350,000) 553,350,000 การป้องกันความเสี่ยงตัดจำหน่าย (2,939,000) (17,680,863) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (833,267,000) (102,052,863) งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท (ปรับปรุงใหม่) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน : ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (838,978,194) (896,026,697) เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ 18,391,538 24,173,492 เงินลงทุนในบริษัทย่อย - (480,000,000) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย 128,900,000 301,700,000 เงินมัดจำ (3,055,640) 21,147,075 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (694,742,296) (1,029,006,130) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน : จ่ายคืนเงินกู้ระยะสั้น - (506,700,000) เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น (204,000,000) (204,000,000) เจ้าหนี้สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (72,978,000) 72,978,000 เงินสดรับ (จ่ายคืน) เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร (553,350,000) 553,350,000 การป้องกันความเสี่ยงตัดจำหน่าย (2,939,000) (17,680,863) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (833,267,000) (102,052,863) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทในหน้า 11 ถึง 30 เป็นส่วนหนึ่ง ของงบการเงินนี้ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดของบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 งบการเงินรวม หมายเหตุ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท (ปรับปรุงใหม่) เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 370,378,310 1,194,002,480 เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดคงเหลือต้นปี 3,624,026,299 2,430,023,819 เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดคงเหลือปลายปี 3,994,404,609 3,624,026,299 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด : เงินสดและเงินฝากธนาคาร 3,102,404,609 3,444,026,299 เงินลงทุนระยะสั้น 892,000,000 180,000,000 3,994,404,609 3,624,026,299 ข้อมูลเพื่อเติมสำหรับงบกระแสเงินสด ดอกเบี้ยจ่าย 5,311,193 34,801,337 ภาษีเงินได้จ่าย 238,630,334 97,788,327 งบการเงินของบริษัท หมายเหตุ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท (ปรับปรุงใหม่) เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 378,677,560 1,138,539,128 เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดคงเหลือต้นปี 3,508,055,361 2,369,516,233 เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดคงเหลือปลายปี 3,886,732,921 3,508,055,361 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด : เงินสดและเงินฝากธนาคาร 3,016,732,921 3,328,055,361 เงินลงทุนระยะสั้น 870,000,000 180,000,000 3,886,732,921 3,508,055,361 ข้อมูลเพื่อเติมสำหรับงบกระแสเงินสด ดอกเบี้ยจ่าย 5,307,181 34,801,003 ภาษีเงินได้จ่าย 197,389,002 79,554,686 หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทในหน้า 11 ถึง 30 เป็นส่วนหนึ่ง ของงบการเงินนี้ บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 1. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญที่ใช้ในการจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินของ บริษัท ซึ่งได้ถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอมีดังต่อไปนี้ 1.1 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทได้จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปซึ่งถือปฏิบัติในประเทศไทย งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทได้จัด ทำขึ้นตามหลักราคาทุนเดิม ซึ่งอาจปรับปรุงด้วยการตีราคาใหม่ของรายการบาง รายการที่เป็น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 1.2 งบการเงินรวม บริษัทย่อยหมายถึงบริษัทที่ บริษัทใหญ่ในกลุ่มบริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งทางตรง และทางอ้อมมากกว่ากึ่งหนึ่งของการออกเสียงทั้งหมด หรือมีอำนาจในการควบ คุมนโยบายการเงินและการดำเนินงานของบริษัทย่อย บริษัทย่อยดังกล่าวได้ถูกนำ มารวมในการจัดทำงบการเงินโดยเริ่มตั้งแต่วันที่บริษัทใหญ่มีอำนาจควบคุม รายการและยอดคงเหลือระหว่างกลุ่มบริษัทที่มีสาระสำคัญ ได้ตัดออกจากงบการ เงินรวมแล้ว ในกรณีที่จำเป็น นโยบายการบัญชีสำหรับบริษัทย่อยจะเปลี่ยนแปลง เพื่อใช้นโยบายการบัญชีเดียวกับกลุ่มบริษัทในการจัดทำงบการเงินรวม นอกจากนี้ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยไม่มีสาระสำคัญ จึงมิได้แสดงแยกต่างหากในงบการ เงินรวม 1.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยแสดงในงบการเงินของบริษัทโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลง ทุนในบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นการลงทุนในกิจการที่บริษัทถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 50 ของสิทธิในการออกเสียงทั้งหมด และกิจการที่บริษัทมีอำนาจในการควบคุม การด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัทย่อยจะบันทึกเป็นค่าเผื่อการปรับมูลค่าเงินลงทุน วิธีส่วนได้เสียเป็นการที่บริษัทรับรู้ส่วนแบ่งกำไรหรือขาดทุนสำหรับปีของบริษัท ย่อย ดังนั้นมูลค่าของเงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงในงบดุลของบริษัทสะท้อน ให้เห็นถึงส่วนแบ่งของสินทรัพย์สุทธิในบริษัทย่อย 1.4 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทแปลงค่ารายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นให้เป็นเงินบาทโดย ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ และแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็น ตัวเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุลให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลก เปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรและขาดทุนที่เกิดจากรับหรือจ่ายชำระที่เป็นเงินตราต่าง ประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินดังกล่าว ได้ บันทึกทันทีในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัททำการป้องกันความเสี่ยงให้ กับรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศโดยใช้สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วง หน้า กลุ่มบริษัทจะแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินที่เกี่ยวข้องกับสัญญา ล่วงหน้าด้วยอัตราแลกเปลี่ยนที่ระบุไว้ในสัญญาล่วงหน้านั้น 1.5 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงด้วยมูลค่าที่จะได้รับ บริษัทประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปี หนี้สูญที่เกิดขึ้นในระหว่างปีตัดเป็นค่า ใช้จ่ายทันทีที่เกิดขึ้น ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญบันทึกตามจำนวนหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บเงินไม่ได้จากลูกหนี้ จำนวนที่คาดว่าจะสูญนี้พิจารณาจากผลการเรียกเก็บหนี้ในอดีตและจากฐานะการ เงินปัจจุบันของลูกหนี้ 1.6 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ กว่า ราคาทุนใช้ราคาที่ซื้อมาครั้งสุดท้ายซึ่งให้ผลใกล้เคียงกับราคาทุนตามวิธีเข้า ก่อน-ออกก่อน ต้นทุนในการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายทางตรงที่ เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้านั้น เช่นค่าภาษีอากร ค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดและเงิน ที่ได้รับคืนจากการซื้อสินค้า มูลค่าสุทธิที่จะได้รับประมาณจากราคาที่คาดว่าจะ ขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จำเป็นเพื่อให้สินค้านั้นสำเร็จรูปและ ค่าใช้จ่ายในการขาย กลุ่มบริษัทได้ตั้งค่าเผื่อการลดมูลค่าสำหรับสินค้าเก่า ล้า สมัย และสูญหาย 1.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์รับรู้เมื่อเริ่มแรกตามราคาทุน หลังจากนั้น จะแสดงด้วย ราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ที่ดินที่ถือไว้เพื่อขายหรือเพื่อการพัฒนาในอนาคตรับรู้เริ่มแรกตามราคาทุน หลัง จากนั้นแสดงด้วยราคาประเมินซึ่งประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระ ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีอัตราเส้นตรง เพื่อลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ ละชนิด ตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ภายในระยะเวลาระหว่าง 5 - 20 ปี ยกเว้นที่ดินซึ่งมีอายุการใช้งานไม่จำกัด สิทธิการเช่าบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี และตัดจำหน่ายโดยวิธีอัตราเส้นตรง ตามอายุสัญญาเช่าในระยะเวลา 6 - 27 ปี ในกรณีที่ราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนซึ่งคำนวณจากมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตจากการใช้สินทรัพย์อย่างต่อ เนื่อง หรือจำนวนที่จะได้รับจากการขายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนจากการจำหน่าย สินทรัพย์นั้นแล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูล ค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน กำไรขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์กำหนดขึ้นจากราคาตามบัญชี และได้รวมอยู่ในการคำนวณกำไรจากการดำเนินงาน 1.8 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีภาระผูกพันที่ค่อนข้างแน่นอนหรือ เกิดภาระผูกพันทางกฎหมายอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต และ จำนวนที่ต้องจ่ายสามารถประมาณการได้อย่างสมเหตุสมผล 1.9 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพและสำรองเงินบำเหน็จพนักงาน กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยใช้แผนการกำหนดอัตราการจ่าย สมทบ โดยที่สินทรัพย์ของกองทุนได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทและ บริหารโดยผู้จัดการกองทุน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพดังกล่าวได้รับเงินเข้าสมทบ กองทุนจากพนักงานและกลุ่มบริษัท เงินจ่ายสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพของกลุ่มบริษัท บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบ กำไรขาดทุนสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกี่ยวข้อง กลุ่มบริษัทตั้งสำรองเงินบำเหน็จพนักงาน สำหรับพนักงานที่มีอายุงานตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป เมื่อลาออกจากงานหรือครบเกษียณอายุ โดยคำนวณจากฐานเงินเดือนครั้ง สุดท้ายที่ได้รับคูณด้วยจำนวนปีที่ทำงาน ซึ่งเป็นไปตามแผนการให้เงินบำเหน็จแก่ พนักงานของกลุ่มบริษัท 1.10 สำรองการรับประกันคุณภาพสินค้า สำรองการรับประกันคุณภาพสินค้าและบริการในบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง คำนวณจาก ข้อมูลการรับคืนสินค้าในอดีตประกอบกับการคาดการณ์เกี่ยวกับการรับคืนสินค้า และบริการในอนาคตโดยฝ่ายบริหาร 1.11 การรับรู้รายได้ กลุ่มบริษัทรับรู้รายได้จากการขายเมื่อส่งมอบสินค้าและลูกค้ายอมรับสินค้านั้น หรือเมื่อได้ให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว รายได้จากการขายเป็นจำนวนที่สุทธิจากส่วน ลด รายการขายที่เกิดขึ้นระหว่างกลุ่มบริษัทได้ตัดออกจากบัญชีเพื่อการจัดทำงบ การเงินรวมแล้ว รายได้จากการให้บริการรับรู้ตามเกณฑ์คงค้างซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดของสัญญา ที่เกี่ยวข้อง 1.12 ตัวเลขเปรียบเทียบ ตัวเลขที่นำมาแสดงเปรียบเทียบได้มีการปรับปรุงเพื่อให้เปรียบเทียบได้กับการ แสดงรายการที่เปลี่ยนแปลงไปในปีปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2542 กลุ่มบริษัทได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่ ที่ถึง กำหนดปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32-- ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35-- การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36-- การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37-- การรับรู้รายได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38-- กำไรต่อหุ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39-- กำไรหรือขาดทุนสุทธิสำหรับงวด ข้อผิดพลาดที่ สำคัญและการเปลี่ยนแปลงทางบัญชี การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่ระบุไว้ข้างต้น ไม่ทำให้บริษัทต้องเปลี่ยน แปลงนโยบายการบัญชี เนื่องจากบริษัทปฏิบัติเกี่ยวกับการรับรู้รายการและการวัด ค่าตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในมาตรฐานเหล่านั้นอยู่แล้ว ยกเว้นการเริ่มใช้มาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 36 - การด้อยค่าของสินทรัพย์ ตามที่อธิบายในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 8 2 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ในไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2542 เพื่อให้สอดคล้องกับการ พัฒนามาตรฐานการบัญชีสากลและมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปของ ประเทศไทย บริษัทได้สอบทานนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับค่าสิทธิในการดำเนิน ธุรกิจ และค่าใช้จ่ายก่อนเปิดกิจการและค่าใช้จ่ายเตรียมการเริ่มกิจการค้าและ พิจารณาเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวจากที่เคยบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายรอ ตัดบัญชีมาเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น ดังนั้นบริษัทต้องปรับปรุงผลของการเปลี่ยน แปลงดังกล่าวย้อนหลังโดยปรับปรุงผลของการเปลี่ยนแปลงกับกำไรสะสม ต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 ผลจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทำให้รายการที่เคยแสดงไว้ในงบดุลรวมและงบ ดุลของบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 ได้ถูกปรับลดลง ดังนี้ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 งบการเงิน งบการเงินรวม ของบริษัท บาท บาท ค่าสิทธิในการดำเนินธุรกิจ 35,161,766 - ค่าใช้จ่ายก่อนเปิดกิจการและ ค่าใช้จ่ายเตรียมการเริ่มกิจการค้า 154,590,905 139,969,477 เงินลงทุนในบริษัทย่อย - 49,783,194 กำไรสะสมต้นปี 189,752,671 189,752,671 1 มกราคม พ.ศ. 2541 งบการเงิน งบการเงินรวม ของบริษัท บาท บาท ค่าสิทธิในการดำเนินธุรกิจ 46,272,472 - ค่าใช้จ่ายก่อนเปิดกิจการและ ค่าใช้จ่ายเตรียมการเริ่มกิจการค้า 189,729,267 174,650,292 เงินลงทุนในบริษัทย่อย - 61,351,447 กำไรสะสมต้นปี 236,001,739 236,001,739 นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีดังกล่าวมีผลทำให้กำไรสุทธิและกำไร ต่อหุ้นเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 ดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น 46,423,745 46,249,068 กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น 0.19 0.19 3 เงินสดและเงินฝากธนาคาร งบการเงินรวม พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท เงินสด 325,614,609 285,255,503 เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก 2,776,790,000 3,158,770,796 3,102,404,609 3,444,026,299 งบการเงินของบริษัท พ.ศ.2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท เงินสด 315,459,921 276,924,346 เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก 2,701,273,000 3,051,131,015 3,016,732,921 3,328,055,361 4 เงินลงทุนระยะสั้น เงินลงทุนระยะสั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2541 ประกอบด้วย เงินฝากธนาคารประเภทเงินฝากประจำ และตั๋วแลกเงิน ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.00-3.00 ต่อปี (พ.ศ. 2541 : ร้อยละ 6.00 -8.00 ต่อปี) 5 ลูกหนี้การค้า สุทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท ลูกหนี้การค้า 4,105,263 9,065,581 หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (50,155) - ลูกหนี้การค้า สุทธิ 4,055,108 9,065,581 งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท ลูกหนี้การค้า 423,674 4,353,136 หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - - ลูกหนี้การค้า สุทธิ 423,674 4,353,136 ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 มียอดค้างชำระแยกตามอายุหนี้เกิน 3 เดือน ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท บาท บาท ลูกหนี้ค้างชำระเกิน 3 เดือน 344,735 276,609 6 สินค้าคงเหลือ สุทธิ สินค้าคงเหลือ ประกอบด้วย งบการเงินรวม พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท สินค้าสำเร็จรูป 2,940,782,069 2,421,718,953 สินค้าระหว่างทาง 2,552,473 5,706,595 2,943,334,542 2,427,425,548 หัก : ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัยและสูญหาย (172,175,350) (155,255,839) สินค้าคงเหลือ สุทธิ 2,771,159,192 2,272,169,709 งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท สินค้าสำเร็จรูป 2,705,234,975 2,214,989,624 สินค้าระหว่างทาง 2,552,473 5,706,595 2,707,787,448 2,220,696,219 หัก : ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัยและสูญหาย (142,741,070) (126,065,341) สินค้าคงเหลือ สุทธิ 2,565,046,378 2,094,630,878 7 เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อย ซึ่งแสดงตามวิธีส่วนได้เสีย ประกอบด้วย งบการเงินรวม พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท บริษัท แม็คโคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด - - บริษัท แม็คโคร ออโตแคร์ จำกัด - - บริษัท แม็คโครออฟฟิศเซ็นเตอร์ จำกัด - - - - งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท บริษัท แม็คโคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด 1,191,239,784 1,216,161,352 บริษัท แม็คโคร ออโตแคร์ จำกัด 205,869,527 200,230,843 บริษัท แม็คโครออฟฟิศเซ็นเตอร์ จำกัด 145,838,339 134,106,199 1,542,947,650 1,550,498,394 บริษัทย่อยทั้งหมดเป็นบริษัทที่จดทะเบียนและดำเนินกิจการในประเทศไทย มีราย ละเอียดดังนี้ ประเภทกิจการ สัดส่วนเงินลงทุน พ.ศ. 2542 (ร้อยละ) บริษัท แม็คโคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด - กิจการลงทุนในที่ดินและให้เช่าที่ดิน 99.99 บริษัท แม็คโคร ออโตแคร์ จำกัด - ศูนย์บริการเปลี่ยนอุปกรณ์รถยนต์ ล้างรถยนต์อัตโนมัติและสถานีบริการน้ำมัน 99.99 บริษัท แม็คโครออฟฟิศเซ็นเตอร์ - กิจการจำหน่ายสินค้าเครื่องใช้สำนักงาน วัสดุ จำกัด อุปกรณ์สำนักงานและศูนย์บริการทางธุรกิจ 99.99 ประเภทกิจการ สัดส่วนเงินลงทุน พ.ศ. 2541 (ร้อยละ) บริษัท แม็คโคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด - กิจการลงทุนในที่ดินและให้เช่าที่ดิน 99.99 บริษัท แม็คโคร ออโตแคร์ จำกัด - ศูนย์บริการเปลี่ยนอุปกรณ์รถยนต์ ล้างรถยนต์อัตโนมัติและสถานีบริการน้ำมัน 99.99 บริษัท แม็คโครออฟฟิศเซ็นเตอร์ - กิจการจำหน่ายสินค้าเครื่องใช้สำนักงาน วัสดุ จำกัด อุปกรณ์สำนักงานและศูนย์บริการทางธุรกิจ 99.99 บริษัทใหญ่มีอำนาจในการควบคุมนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของ บริษัทย่อย ดังนั้นบริษัทดังกล่าวได้ถูกนำมารวมในการจัดทำงบการเงินรวม บริษัทใหญ่ลงทุนในบริษัทย่อยทุกบริษัทโดยการถือครองหุ้นสามัญ ซึ่งยังไม่มีการ เปลี่ยนแปลงนับจากปี พ.ศ. 2541 หุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้วและเงินปันผลสำหรับปีของบริษัทย่อย มีดังต่อไปนี้ ทุนชำระแล้ว พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท บริษัท แม็คโคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด 700,000,000 700,000,000 บริษัท แม็คโคร ออโตแคร์ จำกัด 300,000,000 300,000,000 บริษัท แม็คโครออฟฟิศเซ็นเตอร์ จำกัด 200,000,000 200,000,000 เงินปันผล พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2541 บาท บาท บริษัท แม็คโคร พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด - - บริษัท แม็คโคร ออโตแคร์ จำกัด - - บริษัท แม็คโครออฟฟิศเซ็นเตอร์ จำกัด - - 8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ งบการเงินรวม ที่ดินและ อุปกรณ์และ อาคาร ยานพาหนะ บาท บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 7,513,411,574 3,258,298,261 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม (612,491,131) (1,769,345,918) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (38,456,229) สำรองเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่า ของที่ดิน - - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 6,900,920,443 1,450,496,114 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 6,900,920,443 1,450,496,114 ซื้อ (โอน) สินทรัพย์ 737,584,802 435,280,168 จำหน่ายสินทรัพย์ - (11,751,004) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ ที่ล้าสมัยและสูญหาย - 4,609,174 การด้อยค่าของสินทรัพย์ (164,908,861) - ค่าเสื่อมราคา (202,001,079) (498,900,898) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 7,271,595,305 1,379,733,554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 8,250,996,376 3,659,619,375 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม (814,492,210) (2,246,038,766) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (33,847,055) สำรองเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่า ของที่ดิน (164,908,861) - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 7,271,595,305 1,379,733,554 งบการเงินรวม งานระหว่าง ก่อสร้าง รวม บาท บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 510,985,374 11,282,695,209 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม - (2,381,837,049) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (38,456,229) สำรองเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่า ของที่ดิน - - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 510,985,374 8,862,401,931 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 510,985,374 8,862,401,931 ซื้อ (โอน) สินทรัพย์ - 989,609,038 จำหน่ายสินทรัพย์ (183,255,932) (11,751,004) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ ที่ล้าสมัยและสูญหาย - 4,609,174 การด้อยค่าของสินทรัพย์ - (164,908,861) ค่าเสื่อมราคา - (700,901,977) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 327,729,442 8,979,058,301 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 327,729,442 12,238,345,193 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม - (3,060,530,976) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (33,847,055) สำรองเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่า ของที่ดิน - (164,908,861) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 327,729,442 8,979,058,301 ที่ดินและอาคารและอุปกรณ์ได้รวมที่ดินถือไว้เพื่อขายหรือเพื่อการพัฒนาใน อนาคตจำนวน 143,663,688 บาท ซึ่งจำนวนดังกล่าวได้หักสำรองเผื่อขาดทุนจาก การด้อยค่าของที่ดินแล้ว ในไตรมาสที่สองสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542 บริษัทย่อยได้บันทึกผลขาด ทุนจำนวน 164.9 ล้านบาทจากการด้อยค่าของที่ดินแห่งหนึ่ง เนื่องจากทางกลุ่ม บริษัท ได้มีการเปลี่ยนแปลงแผนการลงทุนบนที่ดินดังกล่าว จึงได้แสดงที่ดินดัง กล่าวเป็นสินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อขายหรือเพื่อการพัฒนาในอนาคต และได้สำรองการ ด้อยค่าของที่ดินดังกล่าวให้เป็นไปตามราคาตลาดตามสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ราคาตลาดได้ถูกประเมินโดยผู้ประเมินอิสระรายหนึ่ง ทั้งนี้การประเมินได้จัดทำ ขึ้นตามพื้นฐานของการเปรียบเทียบกับราคาตลาดของที่ดินบริเวณใกล้เคียงกัน ประกอบกับปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง งบการเงินของบริษัท ที่ดินและ อุปกรณ์และ อาคาร ยานพาหนะ บาท บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 4,506,442,874 2,882,791,798 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม (599,183,578) (1,675,010,034) สำรองเผื่อการตัดจำหน่าย อุปกรณ์ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (34,705,002) สำรองเผื่อขาดทุนจาก การด้อยค่าของที่ดิน - - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 3,907,259,296 1,173,076,762 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 3,907,259,296 1,173,076,762 ซื้อ (โอน) สินทรัพย์ 703,922,134 338,661,588 จำหน่ายสินทรัพย์ - (11,751,004) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ที่ ล้าสมัยและสูญหาย - 4,609,174 การด้อยค่าของสินทรัพย์ - - ค่าเสื่อมราคา (189,240,108) (430,101,667) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 4,421,941,322 1,074,494,853 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 5,210,365,008 3,187,494,333 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม (788,423,686) (2,082,903,652) สำรองเผื่อการตัดจำหน่าย อุปกรณ์ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (30,095,828) สำรองเผื่อขาดทุนจาก การด้อยค่าของที่ดิน - - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 4,421,941,322 1,074,494,853 งบการเงินของบริษัท งานระหว่าง ก่อสร้าง รวม บาท บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 489,391,840 7,878,626,512 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม - (2,274,193,612) สำรองเผื่อการตัดจำหน่าย อุปกรณ์ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (34,705,002) สำรองเผื่อขาดทุนจาก การด้อยค่าของที่ดิน - - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 489,391,840 5,569,727,898 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 489,391,840 5,569,727,898 ซื้อ (โอน) สินทรัพย์ (203,605,528) 838,978,194 จำหน่ายสินทรัพย์ - (11,751,004) สำรองเผื่อการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ที่ ล้าสมัยและสูญหาย - 4,609,174 การด้อยค่าของสินทรัพย์ - - ค่าเสื่อมราคา - (619,341,775) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 285,786,312 5,782,222,487 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ราคาทุนหรือราคาประเมิน 285,786,312 8,683,645,653 หัก : ค่าเสื่อมราคาสะสม - (2,871,327,338) สำรองเผื่อการตัดจำหน่าย อุปกรณ์ที่ล้าสมัยและสูญหาย - (30,095,828) สำรองเผื่อขาดทุนจาก การด้อยค่าของที่ดิน - - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 285,786,312 5,782,222,487 9 ทุนเรือนหุ้น (ยังมีต่อ)